วันเสาร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

วีดีโอ ตรีโกณมิติ


ฟังก์ชันตรีโกณมิติ



ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

   
      ฟังก์ชันตัวย่อความสัมพันธ์ไซน์ (Sine)sin\sin \theta =\cos \left({\frac  {\pi }{2}}-\theta \right)\,โคไซน์ (Cosine)cos\cos \theta =\sin \left({\frac  {\pi }{2}}-\theta \right)\,แทนเจนต์ (Tangent)tan
(หรือ tg)\tan \theta ={\frac  {1}{\cot \theta }}={\frac  {\sin \theta }{\cos \theta }}=\cot \left({\frac  {\pi }{2}}-\theta \right)\,โคแทนเจนต์ (Cotangent)cot
(หรือ ctg หรือ ctn)\cot \theta ={\frac  {1}{\tan \theta }}={\frac  {\cos \theta }{\sin \theta }}=\tan \left({\frac  {\pi }{2}}-\theta \right)\,ซีแคนต์ (Secant)sec\sec \theta ={\frac  {1}{\cos \theta }}=\csc \left({\frac  {\pi }{2}}-\theta \right)\,โคซีแคนต์ (Cosecant)csc
(หรือ cosec) .....อ่านต่อ....

รากที่สอง


รากที่สอง

รากที่สองของ 25 คือ 5 และ - 5 (เพราะ 5 ยกกำลังสองแล้วได้ค่าเท่ากับ 25 และ -5 ยกกำลังสองแล้วได้ค่าเท่ากับ 25 เช่นกัน )

รากที่สองของ 9 คือ 3 และ - 3 (เพราะ 3 ยกกำลังสองแล้วได้ค่าเท่ากับ 9 และ -3 ยกกำลังสองแล้วได้ค่าเท่ากับ 9 เช่นกัน )

รากที่สองของ 4 คือ 2 และ - 2 (เพราะ 2 ยกกำลังสองแล้วได้ค่าเท่ากับ 4 และ -2 ยกกำลังสองแล้วได้ค่าเท่ากับ 4 เช่นกัน )( อ่านต่อ )

ฟังก์ชันกำลังสอง


   ฟังก์ชันกำลังสอง  คือ  ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป  เมื่อ  a,b,c  เป็นจำนวนจริงใดๆ  และ ลักษณะของกราฟของฟังก์ชันนี้ขึ้นอยู่กับค่าของ  a , b  และ  c  และเมื่อค่าของ  a  เป็นบวกหรือลบ  จะทำให้ได้กราฟเป็นเส้นโค้งหงายหรือคว่ำ